วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2554


มรดกโลก

มรดกโลก

     มรดกโลก (อังกฤษ: World Heritage Site; ฝรั่งเศส: Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเลสาบ ทะเลทราย อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต
ใน พ.ศ. 2553 มีมรดกโลกที่ขึ้นทะเบียนแล้วทั้งสิ้น 911 แห่ง แบ่งออกเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 704 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 180 แห่ง และมรดกโลกแบบผสม 27 แห่ง ตั้งอยู่ใน 151 ประเทศ โดยอิตาลีเป็นประเทศที่มีจำนวนมรดกโลกมากที่สุด คือ 44 แห่ง แม้ว่ายูเนสโกจะอ้างอิงถึงมรดกโลกแต่ละแห่งด้วยหมายเลข แต่การขึ้นทะเบียนในหลายครั้งก็จะผนวกเอามรดกโลกที่ได้ขึ้นทะเบียนไปแล้วเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกโลกที่มีพื้นที่มากขึ้น ดังนั้นจึงมีหมายเลขมรดกโลกเกิน 1,200 ไปแล้วแม้ว่าจะมีจำนวนมรดกโลกน้อยกว่าก็ตาม
มรดกโลกแต่ละแห่งเป็นทรัพย์สินของประเทศที่เป็นเจ้าของดินแดนที่มรดกโลกตั้งอยู่ แต่ได้ถูกพิจารณาให้เป็นผลประโยชน์ของประชาคมระหว่างประเทศในการอนุรักษ์มรดกโลกแห่งนั้น

ขั้นตอนการสมัครเป็นสมาชิกมรดกโลก

10เกณฑ์ขึ้นทะเบียน"มรดกโลก"
1.เป็นตัวแทนที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ด้านศิลปกรรม หรือตัวแทนของความงดงาม และเป็นผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันชาญฉลาดยิ่ง

2.เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่งในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้องหรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งการพัฒนาเหล่านั้นเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดของโลก

3.เป็นสิ่งที่แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ที่หาได้ยากยิ่ง หรือเป็นพยานหลักฐาน แสดงขนบธรรมเนียมประเพณี หรืออารยธรรมซึ่งยังคงหลงเหลืออยู่ หรืออาจสูญหายไปแล้ว

4.เป็นตัวอย่างของลักษณะโดยทั่วไปของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนาทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีหรืออุตสาหกรรม

5.เป็นตัวอย่างของลักษณะอันเด่นชัด หรือของขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งสถาปัตยกรรม วิธีการก่อสร้างหรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ที่มีความเปราะบางด้วยตัวมันเอง หรือเสื่อมสลายได้ง่าย เพราะผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่ไม่สามารถกลับคืนดังเดิมได้ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ

6.มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์หรือบุคคลที่มีความสำคัญหรือความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์

7.เป็นตัวอย่างเด่นชัดในการเป็นตัวแทนของวิวัฒนาการสำคัญๆ ในอดีตของโลก รวมทั้งแหล่งที่เป็นตัวแทนของยุคสำคัญๆ ในอดีต เช่น ยุคของสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง

8.เป็นตัวอย่างเด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางธรณีวิทยา หรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ ได้แก่ (ก) ขบวนการทางธรณีวิทยา เช่น ภูเขาน้ำแข็ง หรือภูเขาไฟ (ข) วิวัฒนาการทางชีววิทยา เช่น ป่าไม้เขตร้อน ทะเลทราย ที่ราบทุนดร้า (ค) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น เกษตรกรรมขั้นบันได

9.เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากเป็นพิเศษ เช่น การเกิดหรือลักษณะหรือแหล่งที่มีความงดงามทางธรรมชาติกว่าพื้นที่อื่นๆ เช่น ระบบนิเวศที่มีลักษณะพิเศษ สภาพทางธรรมชาติ (เช่น แม่น้ำ ภูเขา น้ำตก) แหล่งรวมความหนาแน่นของสัตว์ สภาพทิวทัศน์ที่มีพืชนานาชนิดเป็นองค์ประกอบ และแหล่งรวมความผสมผสานระหว่างองค์ประกอบทางธรรมชาติและวัฒนธรรม

10.เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่หายาก หรือที่ตกอยู่ในภาวะอันตราย แต่ยังสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความ

มรดกโลกที่ขึ้นบัญชีเอาไว้ในขณะนี้ ปัจจุบัน (พุทธศักราช ๒๕๕๓) มีมรดกโลกทั้งหมด ๙๓๖ แห่ง ใน ๑๕๑ ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม ๗๒๕ แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ ๑๘๓ แห่ง และอีก ๒๘ แห่ง เป็นแบบผสมทั้งสองประเภท โดยมีการแบ่งออกเป็น ๕ พื้นที่ ได้แก่ แอฟริกา อาหรับ เอเชีย-แปซิฟิก ยุโรป-อเมริกาเหนือ และละตินอเมริกา-แคริบเบียน




มรดกไทยที่ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลกแล้วอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย


อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย


อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร


นครประวัติศาสร์ พระนครศรีอยุธยา


เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร


อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่


แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง




สาเหตุที่ประเทศไทยลาออกจากการเป็นภาคีสมาชิกมรดกโลก

สุวิทย์ คุณกิตติ ประกาศถอนตัวออกจากการเป็นสมาชิกมรดกโลกชี้
ยูเนสโกไม่ยอมฟังไทยดึงดันจะบรรจุวาระประชุมพิจารณาแผนบริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชาที่รุกล้ำอธิปไตยของไทย ยันคณะกรรมการมรดกโลกนำวาระเขาพระวิหารเข้าที่ประชุม จึงเป็นที่มาของการถอนตัวของไทยออกจากกรรมการและสมาชิกภาคีอนุสัญญา
นายสุวิทย์ คุณกิตติ รักษาการ รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหัวหน้า
คณะผู้แทนการเจรจามรดกโลกฝ่ายไทยได้ยื่นจดหมายลาออกจากการเป็นภาคีคณะกรรมการมรดกโลกแล้ว หลัง ยูเนสโกไม่ยอมฟังไทย ดึงดันจะบรรจุวาระประชุมพิจารณาแผนบริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชา โดยการลาออกดังกล่าวของไทย ทำให้ชาติสมาชิกค่อนข้างตกใจ
เพราะไทยเป็นประเทศแรกในโลกที่ลาออกจากคณะกรรมการนี้ โดยฝ่ายไทยเห็นว่า
คณะกรรมการมรดกโลกไม่ฟังข้อทักท้วงของไทย ในการปรับแก้ข้อความและถ้อยคำในร่างมติการประชุมล่วงหน้าเกี่ยวกับแผนดังกล่าว ตามข้อเสนอของกัมพูชา ซึ่งอาจจะกระทบถึงอธิปไตยของไทยบนเขาพระวิหาร
โดย หัวหน้าคณะฯไทย กล่าวว่า ไทยยอมรับไม่ได้เพราะว่ามันจะมีผลกระทบกับเรื่องของดินแดนและอำนาจอธิปไตยของไทย
ทั้งนี้ นาย สุวิทย์ ได้กล่าวว่า สิ่งที่ยูเนสโกตัดสินใจนั้นถือว่า ขัดกับอนุสัญญาของยูเนสโกเองโดยบอกว่าบอกการกระทำที่เกิดขึ้นของยูเนสโก จะทำให้เกิดการเผชิญหน้ากันอีกครั้งบริเวณพื้นที่พิพาท ทั้งนี้ นายสุวิทย์ ได้นำจดหมาย และแถลงให้ผู้สื่อข่าวฟัง ถึงการตัดสินใจ และรวมถึงบรรยากาศในห้องประชุม ยืนยันว่า เป็นการกระทำที่ได้ไตร่ตรอง รวมถึง ได้รับการอนุมัติจากนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีแล้ว
โดยนายสุวิทย์ ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า ไทยได้ต่อสู้เรื่องนี้มาตลอด2-3ปี รู้สึกเสียใจที่คณะกรรมการมรดกโลกตัดสินใจ โดยบอกว่า คณะกรรมการส่วนใหญ่เป็นชาติยุโรป ซึ่งคณะกรรมการไม่เล็งเห็นความสำคัญเรื่องพรมแดน เพราะปัจจุบันยุโรปนั้นไร้พรมแดน เลยเห็นเรื่องวัตถุสิ่งของโบราณสถานสำคัญกว่า เนื่องจากคณะกรรมการมรดกโลกไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติในอนุสัญญามรดกโลกมาตั้งแต่การประกาศขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกเมื่อ 3 ปีก่อน ทั้งที่กัมพูชากับไทยยังมีปัญหาเรื่องขอบเขตพื้นที่ทับซ้อน ซึ่งปัญหาดังกล่าวยังไม่มีความชัดเจนมาจนถึงปัจจุบัน แต่คณะกรรมการมรดกโลกกลับมีท่าทีที่จะยอมรับการเสนอแผนบริหารจัดการพื้นที่ของกัมพูชาที่เสนอเข้ามาในการประชุมปีนี้ ซึ่งเนื้อหาและแผนผังแนบท้ายระบุชัดเจนว่าจะมีการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างหลายอย่างในเขตแดนของไทย
นายสุวิทย์ กล่าวว่า การถอนตัวดังกล่าวถือว่ามีผลทันที ซึ่งจากนี้ไปคณะกรรมการมรดกโลกจะพิจารณารับหรือไม่รับข้อเสนอใดๆ ของกัมพูชา ก็จะไม่มีข้อผูกพันใดๆ กับไทย และไม่สามารถรุกล้ำเข้ามาในดินแดนของไทยได้ การถอนตัวครั้งนี้ยังมีผลให้นางโสมสุดา ลียะวณิช อธิบดีกรมศิลปากร ซึ่งเป็น 1 ใน 21 คณะกรรมการมรดกโลก พ้นจากตำแหน่งไปด้วย

มรดกโลก มรดกไทย

  1. อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย - ขึ้นทะเบียนเมื่อปี 2534 สาเหตุที่ได้รับ
    • เป็นตัวแทนซึ่งแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันฉลาด
    • เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
  2. อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ได้รับพร้อมกับ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
  3. อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ได้รับพร้อมกับ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
  4. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง - ขึ้นทะเบียนเมื่อปี 2534 สาเหตุที่ได้รับ
    • เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางธรณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ภูเขาไฟ เกษตรกรรมขั้นบันได
    • เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
    • เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความหนาแน่นของพืชและสัตว์ที่ทั่วโลกให้ความสนใจด้วย
  5. ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ - ขึ้นทะเบียนเมื่อปี 2548 สาเหตุที่ได้รับ
    • เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
สาเหตุที่ประเทศไทยลาออกจากการเป็นภาคีสมาชิกมรดกโลก
      สุวิทย์ คุณกิตติ ประกาศถอนตัวออกจากการเป็นสมาชิกมรดกโลกชี้
ยูเนสโกไม่ยอมฟังไทยดึงดันจะบรรจุวาระประชุมพิจารณาแผนบริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชาที่รุกล้ำอธิปไตยของไทย ยันคณะกรรมการมรดกโลกนำวาระเขาพระวิหารเข้าที่ประชุม จึงเป็นที่มาของการถอนตัวของไทยออกจากกรรมการและสมาชิกภาคีอนุสัญญา
นายสุวิทย์ คุณกิตติ รักษาการ รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหัวหน้า
คณะผู้แทนการเจรจามรดกโลกฝ่ายไทยได้ยื่นจดหมายลาออกจากการเป็นภาคีคณะกรรมการมรดกโลกแล้ว หลัง ยูเนสโกไม่ยอมฟังไทย ดึงดันจะบรรจุวาระประชุมพิจารณาแผนบริหารจัดการปราสาทพระวิหารของกัมพูชา โดยการลาออกดังกล่าวของไทย ทำให้ชาติสมาชิกค่อนข้างตกใจ
เพราะไทยเป็นประเทศแรกในโลกที่ลาออกจากคณะกรรมการนี้ โดยฝ่ายไทยเห็นว่า
คณะกรรมการมรดกโลกไม่ฟังข้อทักท้วงของไทย ในการปรับแก้ข้อความและถ้อยคำในร่างมติการประชุมล่วงหน้าเกี่ยวกับแผนดังกล่าว ตามข้อเสนอของกัมพูชา ซึ่งอาจจะกระทบถึงอธิปไตยของไทยบนเขาพระวิหาร
โดย หัวหน้าคณะฯไทย กล่าวว่า ไทยยอมรับไม่ได้เพราะว่ามันจะมีผลกระทบกับเรื่องของดินแดนและอำนาจอธิปไตยของไทย
ทั้งนี้ นาย สุวิทย์ ได้กล่าวว่า สิ่งที่ยูเนสโกตัดสินใจนั้นถือว่า ขัดกับอนุสัญญาของยูเนสโกเองโดยบอกว่าบอกการกระทำที่เกิดขึ้นของยูเนสโก จะทำให้เกิดการเผชิญหน้ากันอีกครั้งบริเวณพื้นที่พิพาท ทั้งนี้ นายสุวิทย์ ได้นำจดหมาย และแถลงให้ผู้สื่อข่าวฟัง ถึงการตัดสินใจ และรวมถึงบรรยากาศในห้องประชุม ยืนยันว่า เป็นการกระทำที่ได้ไตร่ตรอง รวมถึง ได้รับการอนุมัติจากนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีแล้ว
โดยนายสุวิทย์ ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า ไทยได้ต่อสู้เรื่องนี้มาตลอด2-3ปี รู้สึกเสียใจที่คณะกรรมการมรดกโลกตัดสินใจ โดยบอกว่า คณะกรรมการส่วนใหญ่เป็นชาติยุโรป ซึ่งคณะกรรมการไม่เล็งเห็นความสำคัญเรื่องพรมแดน เพราะปัจจุบันยุโรปนั้นไร้พรมแดน เลยเห็นเรื่องวัตถุสิ่งของโบราณสถานสำคัญกว่า เนื่องจากคณะกรรมการมรดกโลกไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติในอนุสัญญามรดกโลกมาตั้งแต่การประกาศขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกเมื่อ 3 ปีก่อน ทั้งที่กัมพูชากับไทยยังมีปัญหาเรื่องขอบเขตพื้นที่ทับซ้อน ซึ่งปัญหาดังกล่าวยังไม่มีความชัดเจนมาจนถึงปัจจุบัน แต่คณะกรรมการมรดกโลกกลับมีท่าทีที่จะยอมรับการเสนอแผนบริหารจัดการพื้นที่ของกัมพูชาที่เสนอเข้ามาในการประชุมปีนี้ซึ่งเนื้อหาและแผนผังแนบท้ายระบุชัดเจนว่าจะมีการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างหลายอย่างในเขตแดนของไทย
นายสุวิทย์ กล่าวว่า การถอนตัวดังกล่าวถือว่ามีผลทันที ซึ่งจากนี้ไปคณะกรรมการมรดกโลกจะพิจารณารับหรือไม่รับข้อเสนอใดๆ ของกัมพูชา ก็จะไม่มีข้อผูกพันใดๆ กับไทย และไม่สามารถรุกล้ำเข้ามาในดินแดนของไทยได้ การถอนตัวครั้งนี้ยังมีผลให้นางโสมสุดา ลียะวณิชอธิบดีกรมศิลปากร ซึ่งเป็น 1 ใน 21 คณะกรรมการมรดกโลก พ้นจากตำแหน่งไปด้วย

วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2554


พรรคการเมืองที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง ปี 2554
หมายเลข 1 พรรคเพื่อไทย  จำนวนผู้สมัคร 125 คน
             หัวหน้าพรรค : นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ์
             ** นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็น ปาร์ตี้ลิสต์ อันดับ 1
         
          หมายเลข 2 พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน  จำนวนผู้สมัคร 125 คน
             หัวหน้าพรรค : นายแพทย์วรรณรัตน์  ชาญนุกูล  

          หมายเลข 3 พรรคประชาธิปไตยใหม่  จำนวนผู้สมัคร 6 คน
             หัวหน้าพรรค : นายสุรทิน พิจารณ์  

          หมายเลข 4 พรรคประชากรไทย  จำนวนผู้สมัคร 13 คน
             หัวหน้าพรรค : นายสุมิตร สุนทรเวช  

          หมายเลข 5 พรรครักประเทศไทย  จำนวนผู้สมัคร 11 คน
             หัวหน้าพรรค : นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์    

          หมายเลข 6 พรรคพลังชล  จำนวนผู้สมัคร 18 คน
             หัวหน้าพรรค : นายเชาวน์ มณีวงษ์  

          หมายเลข 7 พรรคประชาธรรม  จำนวนผู้สมัคร 25 คน
             หัวหน้าพรรค : นายมุคตาร์ กีละ  

          หมายเลข 8 พรรคดำรงไทย  จำนวนผู้สมัคร 13 คน
             หัวหน้าพรรค : นายโชติพัฒน์ สกุลดีเชิดชู    

          หมายเลข 9 พรรคพลังมวลชน  จำนวนผู้สมัคร 8 คน
             หัวหน้าพรรค : นายกรภพ ครองจักรภพ  

          หมายเลข 10 พรรคประชาธิปัตย์  จำนวนผู้สมัคร 125 คน
             หัวหน้าพรรค : นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ  

          หมายเลข 11 พรรคไทยพอเพียง  จำนวนผู้สมัคร 3 คน
             หัวหน้าพรรค : นายจำรัส อินทุมาร    

          หมายเลข 12 พรรครักษ์สันติ  จำนวนผู้สมัคร 64 คน
             หัวหน้าพรรค : พลตำรวจโท ถวิล สุรเชษฐพงษ์  

          หมายเลข 13 พรรคไทยเป็นสุข  จำนวนผู้สมัคร 5 คน
             หัวหน้าพรรค : นายประดิษฐ์ ศรีประชา  

          หมายเลข 14 พรรคกิจสังคม  จำนวนผู้สมัคร 125 คน
             หัวหน้าพรรค : นายทองพูล ดีไพร  

          หมายเลข 15 พรรคไทยเป็นไทย  จำนวนผู้สมัคร 10 คน
             หัวหน้าพรรค : นายตรีสัลล์ จันทน์เทียนเดชา    

          หมายเลข 16 พรรคภูมิใจไทย  จำนวนผู้สมัคร 125 คน
             หัวหน้าพรรค : นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล  

          หมายเลข 17 พรรคแทนคุณแผ่นดิน  จำนวนผู้สมัคร 32 คน
             หัวหน้าพรรค : นายวิชัย ศิรินคร    

          หมายเลข 18 พรรคเพื่อฟ้าดิน  จำนวนผู้สมัคร 1 คน
             หัวหน้าพรรค : นางสาวขวัญดิน สิงห์คำ    

          หมายเลข 19 พรรคเครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย  จำนวนผู้สมัคร 30 คน
             หัวหน้าพรรค : นายโชติ บุญจริง  

          หมายเลข 20 พรรคการเมืองใหม่  จำนวนผู้สมัคร 24 คน
             หัวหน้าพรรค : นายสมศักดิ์  โกศัยสุข  

          หมายเลข 21 พรรคชาติไทยพัฒนา  จำนวนผู้สมัคร 125 คน
             หัวหน้าพรรค : นายชุมพล ศิลปอาชา  

          หมายเลข 22 พรรคเสรีนิยม  จำนวนผู้สมัคร 8 คน
             หัวหน้าพรรค : นายพุทธชาติ ช่วยราม    

          หมายเลข 23 พรรคชาติสามัคคี  จำนวนผู้สมัคร 9 คน
             หัวหน้าพรรค : นายนพดล ไชยฤทธิเดช  

          หมายเลข 24 พรรคบำรุงเมือง  จำนวนผู้สมัคร 14 คน
             หัวหน้าพรรค : นายสุวรรณ ประมูลชัย  

          หมายเลข 25 พรรคกสิกรไทย  จำนวนผู้สมัคร 2 คน
             หัวหน้าพรรค : นายจำลอง  ดำสิม  

          หมายเลข 26 พรรคมาตุภูมิ  จำนวนผู้สมัคร 40 คน
             หัวหน้าพรรค : พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน  

          หมายเลข 27 พรรคชีวิตที่ดีกว่า  จำนวนผู้สมัคร 4 คน
             รักษาการแทนหัวหน้าพรรค : นางพูลถวิล ปานประเสริฐ  

          หมายเลข 28 พรรคพลังสังคมไทย  จำนวนผู้สมัคร 5 คน
             หัวหน้าพรรค : นายวิวัฒน์ เลอยุกต์  

          หมายเลข 29 พรรคเพื่อประชาชนไทย  จำนวนผู้สมัคร 4 คน
             หัวหน้าพรรค : นายดิเรก กลิ่นจันทร์  

          หมายเลข 30 พรรคมหาชน  จำนวนผู้สมัคร 6 คน
             หัวหน้าพรรค : นายอภิรัต ศิรินาวิน    

          หมายเลข 31 พรรคประชาชนชาวไทย  จำนวนผู้สมัคร 5 คน
             หัวหน้าพรรค : นายสุนทร ศรีบุญนาค  

          หมายเลข 32 พรรครักแผ่นดิน  จำนวนผู้สมัคร 1 คน
             หัวหน้าพรรค : นายประทีป ประภัสสร  

          หมายเลข 33 พรรคประชาสันติ  จำนวนผู้สมัคร 34 คน
             รักษาการแทนหัวหน้าพรรค : นายดลสวัสด์ ชาติเมธี  

          หมายเลข 34 พรรคความหวังใหม่  จำนวนผู้สมัคร 125 คน
             หัวหน้าพรรค : นายชิงชัย มงคลธรรม  

          หมายเลข 35 พรรคอาสามาตุภูมิ  จำนวนผู้สมัคร 3 คน
             หัวหน้าพรรค : นายมนตรี เศรษฐบุตร  

          หมายเลข 36 พรรคพลังคนกีฬา  จำนวนผู้สมัคร 103 คน
             หัวหน้าพรรค : นายวนัสธนา สัจจกุล หรือ บิ๊กหอย  

          หมายเลข 37 พรรคพลังชาวนาไทย  จำนวนผู้สมัคร 5 คน
             หัวหน้าพรรค : นายสวัสดิ์ พบวันดี  

          หมายเลข 38 พรรคไทยสร้างสรรค์  จำนวนผู้สมัคร 4 คน
             รักษาการแทนหัวหน้าพรรค : นายวิษณุภตฆ์ พีรเจริญวงส์  

          หมายเลข 39 พรรคเพื่อนเกษตรไทย  จำนวนผู้สมัคร 23 คน
             รักษาการแทนหัวหน้าพรรค : นายทรงเดช สุขขำ    

          หมายเลข 40 พรรคมหารัฐพัฒนา  จำนวนผู้สมัคร 2 คน
             หัวหน้าพรรค : นางสาวนวลนิจ หงษ์วิวัฒน์



1
เพื่อไทยพรรคเพื่อไทย
2พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดินพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
3ประชาธิปไตยใหม่พรรคประชาธิปไตยใหม่
4ประชากรไทยพรรคประชากรไทย
5รักประเทศไทยพรรครักประเทศไทย
6
พลังชล
พรรคพลังชล
7ประชาธรรมพรรคประชาธรรม
8ดำรงไทยพรรคดำรงไทย
9พลังมวลชนพรรค พลังมวลชน
10ประชาธิปัตย์พรรคประชาธิปัตย์
11ไทยพอเพียงพรรคไทยพอเพียง
12รักษ์สันติพรรครักษ์สันติ
13ไทยเป็นสุขพรรคไทยเป็นสุข
14กิจสังคมพรรคกิจสังคม
15ไทยเป็นไทพรรคไทยเป็นไทย
16ภูมิใจไทยพรรคภูมิใจไทย
17แทนคุณแผ่นดินพรรคแทนคุณแผ่นดิน
18
เพื่อฟ้าดิน
พรรคเพื่อฟ้าดิน
19
พรรค
เครือข่ายชาวนา
แห่งประเทศไทย
พรรคเครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย
20การเมืองใหม่พรรคการเมืองใหม่
21ชาติไทยพัฒนาพรรคชาติไทยพัฒนา
22เสรีนิยมพรรคเสรีนิยม
23ชาติสามัคคีพรรคชาติสามัคคี 
24บำรุงเมืองพรรคบำรุงเมือง
25กสิกรไทยพรรคกสิกรไทย
26มาตุภูมิพรรคมาตุภูมิ
27ชีวิตที่ดีกว่าพรรคชีวิตที่ดีกว่า
28พลังสังคมไทยพรรคพลังสังคมไทย
29เพื่อประชาชนไทยพรรคเพื่อประชาชนไทย
30มหาชนรรคมหาชน
31ประชาชนชาวไทยพรรคประชาชนชาวไทย


ตัวอย่างบัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 ก.ค. 54 แบบแบ่งเขต

วันศุกร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2554

พรรการเมืองไทย (จุฑาภรณ์ แดงพลับ ม4/13 พร้อมที่จะส่งเเล้วค่ะ)

                                     พรรคการเมืองที่ลงสมัครเลือกตั้ง
          ผลการจับสลากหมายเลขประจำพรรคการเมืองที่จะลงสมัครเลือกตั้งระบบบัญชีราย ชื่อ (ปาร์ตี้ลีสต์) ที่อาคารกีฬาเวสน์ 2 สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง วันแรกสมัคร 29 พรรค 6 พรรคที่ส่งส.ส.บัญชีรายชื่อครบทั้ง 125 คน ได้แก่ พรรคเพื่อไทย พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน พรรคประชาธิปัตย์ พรรคกิจสังคม พรรคภูมิใจไทย และพรรคชาติไทยพัฒนา
หมายเลข 1 พรรคเพื่อไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 125 คน
หมายเลข 2 พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 125 คน
หมายเลข 3 พรรคประชาธิปไตยใหม่ ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 6 คน
หมายเลข 4 พรรคประชากรไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 13 คน
หมายเลข 5 พรรครักประเทศไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 11 คน

หมายเลข 6 พรรคพลังชล ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 18 คน
หมายเลข 7 พรรคประชาธรรม ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 25 คน
หมายเลข 8 พรรคดำรงไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 13 คน
หมายเลข 9 พรรคพลังมวลชน ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 8 คน
หมายเลข 10 พรรคประชาธิปัตย์ ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 125 คน

หมายเลข 11 พรรคไทยพอเพียง ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 3 คน
หมายเลข 12 พรรครักษ์สันติ ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 64 คน
หมายเลข 13 พรรคไทยเป็นสุข ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 5 คน
หมายเลข 14 พรรคกิจสังคม ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 125 คน
หมายเลข 15 พรรคไทยเป็นไท ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 10 คน

หมายเลข 16 พรรคภูมิใจไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 125 คน
หมายเลข 17 พรรคแทนคุณแผ่นดิน ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 32 คน
หมายเลข 18 พรรคเพื่อฟ้าดิน ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 1 คน
หมายเลข 19 พรรคเครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 30 คน
หมายเลข 20 พรรคการเมืองใหม่ ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 24 คน

หมายเลข 21 พรรคชาติไทยพัฒนา ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 125 คน
หมายเลข 22 พรรคเสรีนิยม ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 8 คน
หมายเลข 23 พรรคชาติสามัคคี ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 9 คน
หมายเลข 24 พรรคบำรุงเมือง ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 14 คน
หมายเลข 25 พรรคกสิกรไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 2 คน
หมายเลข 26 พรรคมาตุภูมิ ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 40 คน
หมายเลข 27 พรรคชีวิตที่ดีกว่า ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 4 คน
หมายเลข 28 พรรคพลังสังคมไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 5 คน
หมายเลข 29 พรรคเพื่อประชาชนไทย ส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ ทั้งหมด 4 คน
พรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ก่อตั้งวันที่ 11 มิ.ย. 2525 หัวหน้าพรรค : นายอภิสิทธ์ เวชชาชีวะ/เลขาธิการพรรค : นายสุเทพ เทือกสุบรรณ/สมาชิกพรรค : 2,873,960 คน/สาขาพรรค : 177 สาขา
พรรคกสิกรไทย (กท.) ก่อตั้งวันที่ 10 ก.พ. 2542 หัวหน้าพรรค : นายจำลอง ดำสิม/เลขาธิการพรรค : นางสาวอรสา มงคลเคหา/สมาชิกพรรค : 8,715 คน/สาขาพรรค : 4 สาขา
พรรคมาตุภูมิ (มภ) ก่อตั้งวันที่ 3 พ.ย. 2551 หัวหน้าพรรค : พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน/เลขาธิการพรรค : นายมั่น พัธโนทัย/สมาชิกพรรค : 7,760 คน /สาขาพรรค : 5 สาขา
พรรคเพื่อไทย (พท.) ก่อตั้งวันที่ 20 ก.ย. 2550 หัวหน้าพรรค : นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ์/เลขาธิการพรรค : นายสุพล ฟองงาม /สมาชิกพรรค : 23,778 คน/สาขาพรรค : 5 สาขา
พรรครักประเทศไทย (ร.ป.ท.) ก่อตั้งวันที่ 18 ก.พ. 2553 หัวหน้าพรรค : นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์/เลขาธิการพรรค : นายชัยวัฒน์ ไกรฤกษ์ /สมาชิกพรรค : 3,822 คน /สาขาพรรค : 4 สาขา
พรรครักษ์สันติ (รส.) ก่อตั้งวันที่ 21 เม.ย. 2554 หัวหน้าพรรค : พลตำรวจโท ถวิล สุรเชษฐพงษ์/เลขาธิการพรรค : นางสาวพรเพ็ญ เพชรสุขศิริ/สมาชิกพรรค : 16 คน /สาขาพรรค : 0 สา

 
พรรครักแผ่นดิน (รผด) ก่อตั้งวันที่ 19 เม.ย. 2554 หัวหน้าพรรค : นายประทีป ประภัสสร/เลขาธิการพรรค : นายธนฤกษ ไวทยานนท์ /สมาชิกพรรค : 16 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคประชาชนชาวไทย (ปชชท.) ก่อตั้งวันที่ 8 เม.ย. 2554 หัวหน้าพรรค : นายสุนทร ศรีบุญนาค/เลขาธิการพรรค : นายภูมิพัฒน์ เชื้อเอี่ยมพันธุ์/สมาชิกพรรค : 15 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา

พรรคพลังสังคมไทย (พสท.) ก่อตั้งวันที่ 4 เม.ย. 2554 หัวหน้าพรรค : นายวิวัฒน์ เลอยุกต์/เลขาธิการพรรค : นายสุชีพ อังษานาม/สมาชิกพรรค : 15 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา

พรรคพลังมวลชน (พลช.) ก่อตั้งวันที่ 24 มี.ค. 2554 หัวหน้าพรรค : นายกรภพ ครองจักรภพ/เลขาธิการพรรค : นายชัยโรจน์ นันทกีรติพัฒน์ /สมาชิกพรรค : 18 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคคุ้มเกล้าไทย (ค.ก.ท.) ก่อตั้งวันที่ 21 ม.ค. 2554 หัวหน้าพรรค : นายศิริ ฐวลางกุล/เลขาธิการพรรค : นางสาวลิเภา เสนีวงศ์ ณ อยุธยา /สมาชิกพรรค : 15 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคพลานุภาพ (พลภ) ก่อตั้งวันที่ 21 พ.ย. 2553 หัวหน้าพรรค : นางนันทนา สุวัตถิ/เลขาธิการพรรค : นายศุภฤกษ์ สวัตถิ/สมาชิกพรรค : 16 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคบำรุงเมือง (บม.) ก่อตั้งวันที่ 1 พ.ย. 2553 หัวหน้าพรรค : นายสุวรรณ ประมูลชัย/เลขาธิการพรรค : นางมะลิ เอกอริยะกุล/สมาชิกพรรค : 88 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคไทยเป็นสุข (ทปส.) ก่อตั้งวันที่ 21 ต.ค. 2553 หัวหน้าพรรค : นายประดิษฐ์ ศรีประชา/เลขาธิการพรรค : นางนภารัศม์ นพคุณ /สมาชิกพรรค : 16 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคไทยสร้างสรรค์ (ท.ส.) ก่อตั้งวันที่ 15 ก.ย. 2553 หัวหน้าพรรค : นายวิษณุภตฆ์ พีรเจริญวงส์ (เลขาธิการพรรครักษาการแทน)/เลขาธิการพรรค : นายวิษณุภตฆ์ พีรเจริญวงส์ /สมาชิกพรรค : 18 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
. พรรคเพื่อธรรม (พธ.) ก่อตั้งวันที่ 23 ส.ค. 2553 หัวหน้าพรรค : นายสุรสิทธ์ ฉิมพาลี/เลขาธิการพรรค : นายวันชัย จุฬานนท์/สมาชิกพรรค : 17 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคไทยเพื่อไทย (ทพท.) ก่อตั้งวันที่ 13 ก.ค. 2553 หัวหน้าพรรค : นายสาทิตย์ รอดช้าง/เลขาธิการพรรค : นายธงชัย ธาตุเสียว/สมาชิกพรรค : 15 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคมหารัฐพัฒนา (ม.ร.พ.) ก่อตั้งวันที่ 6 ก.ค. 2553 หัวหน้าพรรค : นางสาวนวลนิจ หงษ์วิวัฒน์/เลขาธิการพรรค : นายสมศักด์ิ หัสเดชะ /สมาชิกพรรค : 16 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคไทยทันทุน (พททท.) ก่อตั้งวันที่ 9 มิ.ย. 2553 หัวหน้าพรรค : นายยังชิน แก้วชัยเจริญกิจ/เลขาธิการพรรค : นายวิษณุ รุ่งฤทธิเดช /สมาชิกพรรค : 16 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคไทยเข้มแข็ง (ทข.) ก่อตั้งวันที่ 4 มิ.ย. 2553 หัวหน้าพรรค : นายมนัส พานิช/เลขาธิการพรรค : นายประธาน พรหมอ่อน/สมาชิกพรรค : 5,559 คน /สาขาพรรค : 4 สาขา
พรรคชาวนาไทย (ช.น.ท.) ก่อตั้งวันที่ 8 เม.ย. 2553 หัวหน้าพรรค : นายสัมฤทธ์ิ แก้วทน/เลขาธิการพรรค : นายสุริยา ไชยบัวแดง /สมาชิกพรรค : 16 คน /สาขาพรรค : 0 สาขา
พรรคประชาสามัคคี (ปส.) ก่อตั้งวันที่ 8 มี.ค. 2553 หัวหน้าพรรค : นายสมหมาย สืบสี/เลขาธิการพรรค : นายภาสกร ดมหอม/สมาชิกพรรค : 499 คน /สาขาพรรค : 4 สาขา
พรรคไทยพอเพียง (ทพ.) ก่อตั้งวันที่ 3 มี.ค. 2553 หัวหน้าพรรค : นายจำรัส อินทุมาร/เลขาธิการพรรค : นายธีรวุธ พราหมณสุทธ์ิ /สมาชิกพรรค : 20,987 คน /สาขาพรรค : 11 สาขา
พรรคแนวร่วมสังคมประชาธิปไตย (ส.ป.ต.) ก่อตั้งวันที่ 29 ธ.ค. 2552 หัวหน้าพรรค : นายประชา อุดมธรรมานุภาพ/เลขาธิการพรรค : นายเอก มงคล/สมาชิกพรรค : 679 คน /สาขาพรรค : 1 สาขา
พรรคการเมืองใหม่ (ก.ม.ม.) ก่อตั้งวันที่ 25 มิ.ย. 2552 หัวหน้าพรรค : นายสมศักด์ิ โกศัยสุข (รองหัวหน้าพรรคปฏิบัติหน้าที่แทน)/เลขาธิการพรรค : นายสุริยะใส กตะศิลา/สมาชิกพรรค : 12,936 คน /สาขาพรรค : 9 สาขา
พรรคพลังพัฒนา (พ.พ.น.) ก่อตั้งวันที่ 31 มี.ค. 2552 หัวหน้าพรรค : นายสนิท มาประจวบ/เลขาธิการพรรค : นางภาพรณ์ ลิ้มศุภรัตน์ /สมาชิกพรรค : 6,516 คน /สาขาพรรค : 4 สาขา
พรรคประชาธรรม (พปธ.) ก่อตั้งวันที่ 16 ม.ย. 2552 หัวหน้าพรรค : นายมุคตาร์ กีละ/เลขาธิการพรรค : นายอาหะหมัด เบนโน/สมาชิกพรรค : 6,349 คน /สาขาพรรค : 4 สาขา
พรรคขัตติยะธรรม (ขตธ.) ก่อตั้งวันที่ 19 ก.พ. 2552 หัวหน้าพรรค : นางสาวขัตติยา สวัสดิผล/เลขาธิการพรรค : นายอมฤตณรงค์บุษย์ สุรพันธ์/สมาชิกพรรค : 5,352 คน /สาขาพรรค : 5 สาขา
พรรคประชาสันติ (ปส.) (เปลี่ยนชื่อจากพรรคธรรมาธิปัตย์ เมื่อวันที่ 21 เม.ย.54) ก่อตั้งวันที่ 26 ม.ค. 2552 หัวหน้าพรรค : นายดลสวัสด์ิ ชาติเมธี (รองหัวหน้าพรรครักษาการแทน)/เลขาธิการพรรค : น.ส.จรินยาภร ชื่นตา/สมาชิกพรรค : 5,467 คน /สาขาพรรค : 4 สาขา
พรรคธรรมาภิบาลสังคม (อภส) ก่อตั้งวันที่ 29 ส.ค. 2551 หัวหน้าพรรค : นายวีรพันธ์ พรหมมนตรี/เลขาธิการพรรค : นายจีระศักด์ิ สีหรัตน์ /สมาชิกพรรค : 6,187 คน /สาขาพรรค : 5 สาขา
พรรคชาติไทยพัฒนา (ชทพ.) ก่อตั้งวันที่ 18 เม.ย. 2551 หัวหน้าพรรค : นายชุมพล ศิลปอาชา/เลขาธิการพรรค : นายปรีชา จั่นเพชร /สมาชิกพรรค : 14,957 คน /สาขาพรรค : 6 สาขา
พรรครวมชาติพัฒนา (รช.) ก่อตั้งวันที่ 3 ต.ค. 2550 หัวหน้าพรรค : นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล/เลขาธิการพรรค : นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธ์ิ /สมาชิกพรรค : 10,338 คน/สาขาพรรค : 4 สาขา
พรรคความหวังใหม่
โลโก้ พรรคประชาธิปัตย์ - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่

โลโก้ พรรคกฤษไทยมั่นคง - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่

                          
โลโก้ พรรคกสิกรไทย - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่พรรคกสิกรไทย
โลโก้  พรรคก้าวหน้า - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
โลโก้  พรรคเกษตรกร - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
โลโก้  พรรคเกษตรกรไทย - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่

โลโก้  พรรคเกษตรก้าวหน้า - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
โลโก้ พรรคชาติประชาธิปไตย - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
โลโก้ พรรคชาติพัฒนา - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่

โลโก้ พรรคชาติสามัคคี - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่

โลโก้  พรรคพลังประชาชน - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
โลโก้ พรรคมัชฌิมาธิปไตย - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่

โลโก้ พรรครักชาติ - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2554
 เป็นการเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ตามความใน พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 ซึ่งให้ยุบสภาผู้แทนราษฎรเสียตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม 2554[1] โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2554 กำหนดให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 500 คน โดยเป็นสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวน 375 คน และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 125 คน[2]
การ ส.ส. แบบแบ่งเขตในครั้งนี้มีรูปแบบการลงคะแนนเป็นแบบ "เขตเดียวเบอร์เดียว" หรือผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง สามารถเลือกผู้สมัครได้เพียงคนเดียว[3] ขณะที่การเลือกตั้ง ส.ส. เมื่อปี พ.ศ. 2550 นั้นเป็นแบบ "เขตเดียวสามเบอร์" หรือผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง สามารถเลือกผู้สมัครได้จำนวน 1-3 คน ตามขนาดของการแบ่งเขตพื้นที่
การเลือกตั้ง ปี 2554  แบ่งได้เป็น 4 ส่วน คือ
1.             การเลือกตั้งทั่วไป ในวันเลือกตั้ง วันอาทิตย์ที่ 3 ก.ค.54 ซึ่งผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะไปใช้สิทธิ ณ หน่วยเลือกตั้งที่มีรายชื่อในเขตเลือกตั้งของตนเอง
2.             การเลือกตั้งในเขตจังหวัด เนื่องจากผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามทะเบียนบ้านในจังหวัดนั้นๆ ต้องเดินทางออกนอกเขต ไม่สามารถไปใช้สิทธิในวันเลือกตั้ง และได้แจ้งความประสงค์ขอใช้สิทธเลือกตั้งล่วงหน้าในเขตจังหวัด เพื่อใช้สิทธิล่วงหน้าวันที่ 26 มิ.ย.54 ณ หน่วยเลือกตั้งกลาง  ซึ่งจะได้กล่าวในโอกาสต่อไป
3.             การเลือกตั้งนอกเขตจังหวัด ณ หน่วยเลือกตั้งกลาง วันอาทิตย์ที่ 26 มิ.ย.54  
การเลือกตั้งนอกราชอาณาจักร
สำหรับผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อยู่ต่างประเทศ ซึ่งจะต้องลงทะเบียนใช้สิทธินอกราชอาณาจักรให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 2 มิ.ย.54 และไปลงคะแนนเลือกตั้งล่วงหน้า ในวันที่ 17-26 มิ.ย.54   สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือลงคะแนนทางไปรษณีย์ตามที่สถานเอกอัครราชทูต หรือสถานกงสุลกำหนด

โลโก้ พรรคชาติไทย - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
โลโก้ พรรคทางเลือกใหม่ - คลิกที่นี่เพื่อดูรูปภาพใหญ่
 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งนอกเขตจังหวัดเป็นใคร ?
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งนอกเขตจังหวัด คือ ผู้ที่ย้ายทะเบียนบ้านเข้ามาในเขตกรุงเทพฯ แต่ยังไม่ถึง 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง   และผู้ที่พักอาศัยหรือทำงานต่างถิ่น เช่น เข้ามาทำงานหรือพักอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร แต่มีชื่อในทะเบียนบ้านจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งในวันเลือกตั้ง 3 ก.ค.54 ไม่สะดวกที่จะเดินทางกลับไปใช้สิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง ณ ภูมิลำเนาของตนเอง  แต่ต้องการใช้สิทธิเลือกตั้งผู้แทนของตนเข้าไปทำงาน
 หากจะขอใช้สิทธิเลือกตั้งล่วงหน้าต้องทำอย่างไร?
ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งนอกเขตจังหวัด ยื่นคำขอลงทะเบียนใช้สิทธิเลือกตั้งนอกเขตจังหวัดต่อนายทะเบียน อำเภอ หรือนายทะเบียนท้องถิ่น หรือผู้อำนวยการเขต ตั้งแต่บัดนี้ถึงวันที่ 2 มิ.ย.54  ในส่วนของผู้ที่เคยลงทะเบียนขอใช้สิทธิเลือกตั้งล่วงหน้าในการเลือกตั้ง ส.ส.ครั้งที่ผ่านมา หากไม่ได้เปลี่ยนแปลงที่ลงคะแนน สามารถไปใช้สิทธิเลือกตั้งล่วงหน้าตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด โดยไม่ต้องขอลงทะเบียนใหม่
ลงทะเบียนแล้วไปเลือกตั้งเมื่อไหร่ ที่ไหน ?
ภายหลังจากยื่นคำขอและได้รับการอนุมัติเรียบร้อย ผู้มีสิทธิเลือกตั้งนอกเขตจังหวัดจะต้องไปเลือกตั้งล่วงหน้าในวันที่ 26 มิ.ย.54 เวลา 08.00 – 15.00 น. ณ ที่เลือกตั้งกลาง ซึ่งสำนักงานเขตเป็นผู้กำหนด เช่น ขอใช้สิทธิเลือกตั้งนอกเขตจังหวัดที่เขตดินแดง  ก็ให้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งล่วงหน้า ณ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) ดินแดง เป็นต้น ทั้งนี้สถานที่เลือกตั้งกลางนอกเขตจังหวัดจะแจ้งให้ทราบในโอกาสต่อไป